AGTECH AI – Startup Creator [SUT]

AGTECH AI – Startup Creator [SUT]

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

โครงการพัฒนาวิสาหกิจเริ่มต้นด้านการเกษตรที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เพื่อให้นักศึกษา และศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัย ได้เรียนรู้พร้อมสู่การเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจเริ่มต้นร่วมกับการเสริมทักษะความรู้และความเข้าใจเพื่อสร้างนวัตกรรมการเกษตรที่ต่อยอดพัฒนาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์แก้ปัญหาการเกษตรของประเทศ

ซึ่งได้แบ่ง หัวข้อการเรียนรู้ออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ องค์ความรู้ด้านการเกษตร องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและปัญญาประดิษฐ์ องค์ความรู้ด้านการเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจเริ่มต้น

โดยผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ทั้ง 3 ด้าน จากเครือข่าย AgTech AI Consortium ที่สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สนช.) ได้สร้างความเชื่อมโยง และได้รับความร่วมมือ ประกอบด้วย

1. องค์ความรู้ด้านการเกษตร

2. องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและปัญญาประดิษฐ์

     จากคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยที่มีศักยภาพพร้อมเป็นมหาวิทยาลัยนำร่องจาก 3 ภูมิภาค ได้แก่

     • ภาคกลาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

     • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และ

     • ภาคเหนือ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

     และผู้มีทักษะเชี่ยวชาญเฉพาะทางจากสมาคมปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย (AIAT) รวมทั้งจากผู้ประกอบการ และผู้มี ประสบการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมของเครือข่ายมหาวิทยาลัย

3. องค์ความรู้ด้านการเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจเริ่มต้น
     จากพันธมิตรด้านกลยุทธ์ (Strategic Partners) สมาคมผู้ประกอบการปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย (AIEAT) และสำหรับโปรแกรมบ่มเพาะจากทีม WEDO ต้นแบบแนวคิด T-Shaped ที่ออกแบบ Mehodology เพื่อบ่มเพาะและเร่งสร้าง Talent รุ่นใหม่ ให้ติดอาวุธกับการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน คือ Technology | Design | Business

หวังว่าโปรแกรมบ่มเพาะนี้จะเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันองค์ความรู้ สู่ผู้เรียนรู้ให้พร้อมเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจเริ่มต้นด้านการเกษตรที่ต่อยอดพัฒนาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์สร้างนวัตกรรมการเกษตรที่ขับเคลื่อนระบบนิเวศทั้งระบบอย่างยั่งยืนต่อไป

เนื้อหาคอร์ส
1. 〚Week1〛Introduction to Tensorflow and Keras Part 1
55:34
สอนโดย อาจารย์ ดร. ศรัญญา กาญจนวัฒนา หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- การอธิบายถึง Concept AI ทั่วไป
2. 〚Week1〛Introduction to Tensorflow and Keras Part 2
37:27
สอนโดย อาจารย์ ดร. ศรัญญา กาญจนวัฒนา หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- อธิบายถึงโครงสร้างของอัลกอริทึม ANN
3. 〚Week1〛Introduction to Tensorflow and Keras Part 3
30:08
สอนโดย อาจารย์ ดร. ศรัญญา กาญจนวัฒนา หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- อธิบายความหมายของ Tensorflow และ Keras
4. 〚Week1〛Introduction to Tensorflow and Keras Part 4
24:37
สอนโดย อาจารย์ ดร. ศรัญญา กาญจนวัฒนา หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- อธิบาย Data Process ตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมข้อมูลจนได้โมเดลออกมา
5. 〚Week1〛 Introduction to Tensorflow and Keras Part 5
1:01:03
สอนโดย อาจารย์ ดร. ศรัญญา กาญจนวัฒนา หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- การติดตั้งและทำงานของ Tensorflow และ Keras
6. 〚Week2〛หลักการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล (Artificial Intelligence for Data Analytics)Part 1
15:34
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- Introduction to Machice Learning
7. 〚Week2〛หลักการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล (Artificial Intelligence for Data Analytics) Part 2
25:08
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- Install and configuration
8. 〚Week2〛หลักการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล (Artificial Intelligence for Data Analytics) Part 3
23:42
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- Workshop01-Introduction
9. 〚Week2〛หลักการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล (Artificial Intelligence for Data Analytics) Part 4
42:02
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- Workshop02-Simple Linear Regression
10. 〚Week2〛หลักการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล (Artificial Intelligence for Data Analytics) Part 5
40:24
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- Workshop03-Multiple Linear Regression
11. 〚Week2〛หลักการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล (Artificial Intelligence for Data Analytics) Part 6
38:40
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- Workshop04-Simple Polynomail Regression
12. 〚Week2〛หลักการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล (Artificial Intelligence for Data Analytics) Part 7
30:01
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- workshop05 - Multi Polynomail Regression
13. 〚Week2〛หลักการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล (Artificial Intelligence for Data Analytics) Part 8
14:39
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- workshop06 - Logistic Regression-#1
14. 〚Week2〛หลักการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล (Artificial Intelligence for Data Analytics) Part 9
12:26
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- workshop06 - Logistic Regression-#2
15. 〚Week2〛หลักการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล (Artificial Intelligence for Data Analytics) Part 10
45:22
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- workshop07-KNeighborsClassifier
16. 〚Week2〛หลักการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล (Artificial Intelligence for Data Analytics) Part 11
10:21
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- workshop08-Decision Tree
17. 〚Week2〛หลักการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล (Artificial Intelligence for Data Analytics) Part 12
29:48
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- workshop12-K-Means Clustering (Iris dataset)
18. 〚Week2〛ระบบสมองกลฝังตัวสำหรับเทคโนโลยีสมาร์ทฟาร์ม (Embedded system for Smart Farm Technology) Part1
2:27:27
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- ได้ทราบแนวทางในการประยุกต์ใช้ระบบเมคคาทรอนิกส์ร่วมกับ AI สำหรับงานทางด้านการเกษตร
- ประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านเมคคาทรอนิกส์ร่วมกับ AI เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการเกษตรได้อย่างเหมาะสม
19. 〚Week2〛ระบบสมองกลฝังตัวสำหรับเทคโนโลยีสมาร์ทฟาร์ม (Embedded system for Smart Farm Technology) Part2
2:41:31
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
20. 〚Week3〛พื้นฐานการออกแบบอุปกรณ์การเก็บข้อมูลเบื้องต้น สำหรับเกษตรอัจฉริยะ Basic Concept design of a machine for Smart Agriculture Part1
17:06
สอนโดย ดร.วรวัฒน์ ลวนนท์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- อธิบายพื้นฐานและแนวคิดของระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
- อธิบายระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งในเกษตรกรรม
- การวิเคราะห์ปัญหาและเสนอแนวทางเบื้องต้นเพื่อการแก้ไขปัญหาด้วยระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
- Operating Device 01
21. 〚Week3〛พื้นฐานการออกแบบอุปกรณ์การเก็บข้อมูลเบื้องต้น สำหรับเกษตรอัจฉริยะ Basic Concept design of a machine for Smart Agriculture Part2
19:04
สอนโดย ดร.วรวัฒน์ ลวนนท์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- Operating Device 02
22. 〚Week3〛พื้นฐานการออกแบบอุปกรณ์การเก็บข้อมูลเบื้องต้น สำหรับเกษตรอัจฉริยะ Basic Concept design of a machine for Smart Agriculture Part3
14:34
สอนโดย ดร.วรวัฒน์ ลวนนท์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- Operating Device 03
23. 〚Week3〛พื้นฐานการออกแบบอุปกรณ์การเก็บข้อมูลเบื้องต้น สำหรับเกษตรอัจฉริยะ Basic Concept design of a machine for Smart Agriculture Part4
16:58
สอนโดย ดร.วรวัฒน์ ลวนนท์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- Operating Device 04
24. 〚Week3〛พื้นฐานการออกแบบอุปกรณ์การเก็บข้อมูลเบื้องต้น สำหรับเกษตรอัจฉริยะ Basic Concept design of a machine for Smart Agriculture Part5
31:09
สอนโดย ดร.วรวัฒน์ ลวนนท์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- Operating Device 05
25. 〚Week3〛การเตรียมข้อมูล (Data Pre-processing) : Data vs Info vs Knowledge
44:32
สอนโดย อาจารย์ ดร. ศรัญญา กาญจนวัฒนา หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจกระบวนการเตรียมข้อมูลสำหรับการสร้างและการทดสอบ Model ของปัญญาประดิษฐ์
- เพื่อให้นักศึกษารูปจัดวิธีการเขียนสำหรับการเตรียมข้อมูลเบื้องต้นได้
- เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อยอดในการเขียนโปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลและการเรียนรู้ด้วยเครื่อง เป็นต้น
26. 〚Week3〛การเตรียมข้อมูล (Data Pre-processing) : Data Collection
14:46
สอนโดย อาจารย์ ดร. ศรัญญา กาญจนวัฒนา หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
27. 〚Week3〛การเตรียมข้อมูล (Data Pre-processing) : Data Preprocessing
57:07
สอนโดย อาจารย์ ดร. ศรัญญา กาญจนวัฒนา หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
28. 〚Week3〛การเตรียมข้อมูล (Data Pre-processing) : Image Preprocessing
14:07
สอนโดย อาจารย์ ดร. ศรัญญา กาญจนวัฒนา หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
29. 〚Week4〛พื้นฐานการออกแบบระบบสำหรับการเก็บข้อมูลเบื้องต้น (Basic Concept design of data base server) Part1
1:34:08
สอนโดย ดร.วรวัฒน์ ลวนนท์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจพื้นฐานและแนวคิดของระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
- เพื่อให้นักศึกษาสามารถออกแบบระบบเพื่อเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อการแก้ไขปัญหาด้วยระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
30. 〚Week4〛พื้นฐานการออกแบบระบบสำหรับการเก็บข้อมูลเบื้องต้น (Basic Concept design of data base server) Part2
35:36
สอนโดย ดร.วรวัฒน์ ลวนนท์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต ม.เทคโนโลยีสุรนารี
31. 〚Week4〛เทคโนโลยีการประมวลผลภาพ
(Image processing)
50:32
สอนโดย ดร. ปัญญา หันตุลา หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- อธิบายแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีการประมวลผลภาพได้
- อธิบายเทคนิคและกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลเทคโนโลยีการประมวลผลภาพได้
- เขียนโปรแกรมภาษาไพธอนสำหรับเทคโนโลยีการประมวลผลภาพได้
- วิเคราะห์ข้อมูลด้วยหลักการปัญญาประดิษฐ์และการประมวลผลภาพได้
32. 〚Week5〛การจินตทัศน์ข้อมูล (Data Visualization) Part1
08:29
สอนโดย ดร.ชิตพงศ์ เวชไธสงค์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนโปรแกรมแสดงผลข้อมูล (Data Visualization) ด้วยภาษาไพธอนพื้นฐานได้
- เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนโปรแกรมเรียกใช้ชุดคำสั่งต่างๆ ได้ อาทิเช่น Numpy และ Matplotlib
- เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อยอดไปใช้ในงานด้านต่างๆ อาทิเช่น การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น
33. 〚Week5〛การจินตทัศน์ข้อมูล (Data Visualization) Part2
20:25
สอนโดย ดร.ชิตพงศ์ เวชไธสงค์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม ม.เทคโนโลยีสุรนารี
34. 〚Week5〛การจินตทัศน์ข้อมูล (Data Visualization) Part3
11:54
สอนโดย ดร.ชิตพงศ์ เวชไธสงค์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม ม.เทคโนโลยีสุรนารี
35. 〚Week5〛การจินตทัศน์ข้อมูล (Data Visualization) Part4
09:45
สอนโดย ดร.ชิตพงศ์ เวชไธสงค์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม ม.เทคโนโลยีสุรนารี
36. 〚Week5〛การจินตทัศน์ข้อมูล (Data Visualization) Part5
19:35
สอนโดย ดร.ชิตพงศ์ เวชไธสงค์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม ม.เทคโนโลยีสุรนารี
37. 〚Week5〛การจินตทัศน์ข้อมูล (Data Visualization) Part6
09:44
สอนโดย ดร.ชิตพงศ์ เวชไธสงค์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม ม.เทคโนโลยีสุรนารี
38. 〚Week5〛การจินตทัศน์ข้อมูล (Data Visualization) Part7
12:09
สอนโดย ดร.ชิตพงศ์ เวชไธสงค์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม ม.เทคโนโลยีสุรนารี
39. 〚Week5〛การจินตทัศน์ข้อมูล (Data Visualization) Part8
13:55
สอนโดย ดร.ชิตพงศ์ เวชไธสงค์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม ม.เทคโนโลยีสุรนารี
40. 〚Week5〛หุ่นยนต์ AGV เบื้องต้นสำหรับเกษตรอัจฉริยะ (Introduction to Autonomous Ground Vehicle (AGV) Robotics for Smart Farm) Part1
1:12:18
สอนโดย ดร.สุรเดช ตัญตรัยรัตน์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- เรียนรู้การทำงานและควบคุมหุ่นยนต์เคลื่อนที่แบบ 2 ล้อ
- เรียนรู้การเรียนรู้การประยุกต์ใช้การเรียนรู้ของเครื่องเบื้องต้นกับหุ่นยนต์
- สามารถนำการเรียนรู้ของเครื่องไปประยุกต์กับการสั่งการหุ่นยนต์
41. 〚Week5〛หุ่นยนต์ AGV เบื้องต้นสำหรับเกษตรอัจฉริยะ (Introduction to Autonomous Ground Vehicle (AGV) Robotics for Smart Farm) Part2
1:21:59
สอนโดย ดร.สุรเดช ตัญตรัยรัตน์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ม.เทคโนโลยีสุรนารี
42. 〚Week5〛การเรียนรู้ของเครื่องสำหรับหุ่นยนต์ (Machine Learning Application in Robotics) Part1
1:53:33
สอนโดย ดร.สุรเดช ตัญตรัยรัตน์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ม.เทคโนโลยีสุรนารี
- เข้าใจพื้นฐานและแนวคิดกระบวนการของ Machine Learning โดยเฉพาะแบบ Supervised Learning
- ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการเรียนรู้แบบมีผู้สอนกับการรับรู้และตัดสินใจของหุ่นยนต์
43. 〚Week5〛การเรียนรู้ของเครื่องสำหรับหุ่นยนต์ (Machine Learning Application in Robotics) Part2
1:43:29
สอนโดย ดร.สุรเดช ตัญตรัยรัตน์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ม.เทคโนโลยีสุรนารี
เนื้อหาทั้งหมด 43 วิดีโอ รวม 04 ชั่วโมง 52 นาที
เนื้อหาจะแบ่งเป็นสัปดาห์ โดยในแต่ละสัปดาห์จะมีเนื้อหาที่มาจาก 3 มหาวิทยาลัย ผู้เข้าอบรมสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตลอดเวลา สามารถดูข้อมูลการเรียนการสอนจากมหาวิทยาลัยอื่นๆได้ที่ User Profile ในส่วนของ Enrollments by Group
ฟรี
ผู้สอน
สิรพัฒน์ ชนะกุล

นักส่งเสริมนวัตกรรมอาวุโส ฝ่ายพัฒนาผู้ประกอบการนวัตกรรม สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

ดร.มนฤทัย ระดีรมย์

Course Director

ดร.ศรัญญา กาญจนวัฒนา

อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีสุรนารี

ดร. ปัญญา หันตุลา

หน่วยประสานงานสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สำนักงานบ่มเพาะนวัตกรรม เทคโนธานี ม.เทคโนโลยีสุรนารี

ดร.ชิตพงศ์ เวชไธสงค์

สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม ม.เทคโนโลยีสุรนารี

ดร.วรวัฒน์ ลวนนท์

สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต ม.เทคโนโลยีสุรนารี

ดร.สุรเดช ตัญตรัยรัตน์

สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ม.เทคโนโลยีสุรนารี

รีวิว
NIA MOOCs Tech Support