
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สนช. ได้ดำเนินกิจกรรมพัฒนาระบบนิเวศวิสาหกิจเริ่มต้นด้านการลงทุน เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เรื่องการลงทุนในวิสาหกิจเริ่มต้น ส่งเสริมให้เกิดนักลงทุนรุ่นใหม่ และสร้างเครือข่ายระหว่างนักลงทุนด้วยกันเอง ตลอดจนจัดให้มีเวทีสำหรับวิสาหกิจเริ่มต้นนำเสนอรูปแบบธุรกิจกับเครือข่ายนักลงทุน จากการดำเนินงานในปี 2563 – 2566 ได้เกิดเครือข่ายนักลงทุนรุ่นใหม่ใน 5 พื้นที่ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ EEC ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ รวมกว่า 1,400 คน และมีวงเงินสำหรับลงทุนในวิสาหกิจเริ่มต้นกว่า 575 ล้านบาท
ทั้งนี้ ในปี 2567 เพื่อเป็นการเพิ่มจำนวนนักลงทุนรุ่นใหม่และสร้างเครือข่ายนักลงทุนให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น สนช. จึงกำหนดจัดกิจกรรมพัฒนาระบบนิเวศวิสาหกิจเริ่มต้นด้านการลงทุน ภายใต้โครงการศูนย์วิสาหกิจเริ่มต้นระดับโลก ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในวิสาหกิจเริ่มต้นเพิ่มมากขึ้น และสร้างเครือข่ายนักลงทุนให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น ผ่านการพัฒนาองค์ความรู้ตามหลักสูตรของ สนช.
วัตถุประสงค์
- เพิ่มจำนวนนักลงทุนรุ่นใหม่จากการอบรม
- เตรียมความพร้อมวิสาหกิจเริ่มต้นให้พร้อมรับการลงทุน
- สร้างเครือข่ายนักลงทุนให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น
- ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในวิสาหกิจเริ่มต้นเพิ่มมากขึ้น
- เพื่อพัฒนาระบบนิเวศวิสาหกิจเริ่มต้นประเทศไทยให้เข้มแข็งมากยิ่งขึ้นต่อไป
กลุ่มเป้าหมาย
- วิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) ทั่วไป ในสาขาอุตสาหกรรมเป้าหมาย
- วิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) และนักศึกษาจากโครงการ Startup Thailand League
- องค์กรขนาดใหญ่ (Corporate)
- เครือข่ายนักลงทุน (VC)
- บุคคลทั่วไปที่สนใจในการลงทุนในวิสาหกิจเริ่มต้น
หัวข้อหลักสูตร
การอบรมหลักสูตรการลงทุนในวิสาหกิจเริ่มต้นจำนวน 12 หัวข้อ ความยาวรวมกันไม่น้อยกว่า 16 ชั่วโมง ประกอบด้วยเนื้อหาดังต่อไปนี้
เนื้อหาคอร์ส
1. Thai Startup Ecosystem Government & Private Sector Part 1
49:31
• การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
2. Thai Startup Ecosystem Government & Private Sector Part 2
47:41
• การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
3. Thai Startup Ecosystem
1:07:25
• ทำความรู้จักกับ Ecosystem ของธุรกิจสตาร์ทอัพ
• ความสำคัญ (สร้างโอกาสขยายธุรกิจ เสริมนวัตกรรมจากพันธมิตร เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน)
4. Introduction Investment Part 1
20:26
• Investment Market Worldwide
• ความน่าสนใจในการลงทุนในธุรกิจสตาร์ทอัพ
• Angels VS Venture Capitalists
5. Introduction Investment Part 2
16:00
• Investment Market Worldwide
• ความน่าสนใจในการลงทุนในธุรกิจสตาร์ทอัพ
• Angels VS Venture Capitalists
6. Introduction Investment Part 3
25:40
• Investment Market Worldwide
• ความน่าสนใจในการลงทุนในธุรกิจสตาร์ทอัพ
• Angels VS Venture Capitalists
7. Investment Instruments Part 1
10:32
• สัดส่วนการถือหุ้นและการบริหาร
8. Investment Instruments Part 2
15:00
• สัดส่วนการถือหุ้นและการบริหาร
9. Investment Instruments Part 3
15:36
• สัดส่วนการถือหุ้นและการบริหาร
10. Due Diligence Part 1
23:07
• ขั้นตอนการทำ Due diligence
• ทำไมต้องทำ Due diligence
• กระบวนการทำ Due diligence
• วิธีการตรวจสอบและวิเคราะห์สถานะธุรกิจสตาร์ทอัพ
• ปัจจัยที่ต้องให้ความสำคัญ (มูลค่าธุรกิจ บัญชี และกฎหมาย)
• ปัญหาที่พบบ่อย ๆ และวิธีแก้ไข
11. Due Diligence Part 2
1:18:49
• ขั้นตอนการทำ Due diligence
• ทำไมต้องทำ Due diligence
• กระบวนการทำ Due diligence
• วิธีการตรวจสอบและวิเคราะห์สถานะธุรกิจสตาร์ทอัพ
• ปัจจัยที่ต้องให้ความสำคัญ (มูลค่าธุรกิจ บัญชี และกฎหมาย)
• ปัญหาที่พบบ่อย ๆ และวิธีแก้ไข
12. Due Diligence Part 3
18:52
• ขั้นตอนการทำ Due diligence
• ทำไมต้องทำ Due diligence
• กระบวนการทำ Due diligence
• วิธีการตรวจสอบและวิเคราะห์สถานะธุรกิจสตาร์ทอัพ
• ปัจจัยที่ต้องให้ความสำคัญ (มูลค่าธุรกิจ บัญชี และกฎหมาย)
• ปัญหาที่พบบ่อย ๆ และวิธีแก้ไข
13. Valuation Part 1
33:12
• ความแตกต่างของการประเมินมูลค่าบริษัทสตาร์อัพกับบริษัททั่วไป
• มุมมองของ VC และ Startup
• ปัจจัยที่มีผลต่อการประเมินมูลค่า
• ตัวอย่างการนำวิธีการประเมินมูลค่า
14. Valuation Part 2
31:50
• ความแตกต่างของการประเมินมูลค่าบริษัทสตาร์อัพกับบริษัททั่วไป
• มุมมองของ VC และ Startup
• ปัจจัยที่มีผลต่อการประเมินมูลค่า
• ตัวอย่างการนำวิธีการประเมินมูลค่า
15. Valuation Part 3
1:00:37
• ความแตกต่างของการประเมินมูลค่าบริษัทสตาร์อัพกับบริษัททั่วไป
• มุมมองของ VC และ Startup
• ปัจจัยที่มีผลต่อการประเมินมูลค่า
• ตัวอย่างการนำวิธีการประเมินมูลค่า
16. Term Sheet Part 1
53:11
• Governance (monitoring and control)
17. Term Sheet Part 2
33:39
• Governance (monitoring and control)
18. Exit Strategy > Investment Returns
38:08
• ความเข้าใจเกี่ยวกับการ Exit ในวงจรธุรกิจสตาร์ทอัพ
• รูปแบบของ Exit Strategy
19. Exit Strategy > Preparing for an exit
1:06:21
• ความเข้าใจเกี่ยวกับการ Exit ในวงจรธุรกิจสตาร์ทอัพ
• รูปแบบของ Exit Strategy
20. Good Governance และ ESG
1:05:29
• บทนำและความสำคัญของ Investment Governance
• กรอบการกำกับดูแลการลงทุน
• การกำกับดูแลด้านจริยธรรมและความรับผิดชอบ
• การระดมทุนตั้งแต่เริ่มธุรกิจจนถึง Exit
• การปรับตัวและการเติบโตของสตาร์ทอัพ
22. การระดมทุนของ STARTUP
1:44:09
• การระดมทุนตั้งแต่เริ่มธุรกิจจนถึง Exit
• การปรับตัวและการเติบโตของสตาร์ทอัพ
23. ทักษะและเคล็ดลับสำหรับนักลงทุนรุ่นใหม่
34:36
• การลงทุนใน Startup ควรลง Tech ไหนดี
• การลงทุนใน Startup ด้านเทคโนโลยีเฉพาะ เช่น AI, Biotech, หรือ Fintech
• การสร้างเครือข่าย: สร้างความสัมพันธ์กับผู้ประกอบการ, นักลงทุน, และผู้เชี่ยวชาญในแวดวง Startup
• การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง: ติดตามข่าวสารและแนวโน้มในแวดวง Startup อย่างสม่ำเสมอ
• การควบคุมอารมณ์: รับมือกับความผันผวนทางอารมณ์และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล
• การแสวงหาคำแนะนำ: ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือที่ปรึกษาทางการเงินเมื่อจำเป็น
24. แบบประเมินหลังการเรียน
ผู้ผ่านหลักสูตรสามารถดาวน์โหลดเอกสารเฉลยข้อสอบได้จากบทเรียนนี้ หลังจากนั้นจะเป็นขั้นตอนการประเมินคุณภาพของบทเรียนและระบบการใช้งาน ซึ่งความเห็นของคุณจะช่วยในการพัฒนา NIA Academy MOOCs ต่อไป และในตอนท้ายของแบบทดสอบจะเป็นแบบฟอร์มเพื่อขอใบประกาศนียบัตรออนไลน์ (Online Certificate) ออกให้โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ