การบัญชีสําหรับธุรกิจใหม่ (Accounting for New Venture)

การบัญชีสําหรับธุรกิจใหม่ (Accounting for New Venture)

บทเรียนนี้จะอยู่ในหัวข้อ "การออกแบบธุรกิจใหม่"
นำเสนอเป็น Module 6 ในหัวข้อ  "การบัญชีสำหรับธุรกิจใหม่ Accounting for New Venture"

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

  1. เข้าใจพื้นฐานแนวคิดการบัญชี
  2. เข้าใจแนวทางการวางโครงสร้างพื้นฐานบัญชีสำหรับธุรกิจใหม่

สิ่งที่จะได้เรียนรู้ในบทเรียน

  • ทำความเข้าใจเกี่ยวกับระบบบัญชีการเงิน
  • ทำความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า "ทุน" ในแง่มุมของ ความหมาย, ที่มา และการบริหารจัดการ
  • เรียนรู้วงจรของผู้ประกอบการว่ามีกี่ระดับ
  • การวิเคราะห์ข้อมูลงบการเงิน แบ่งเป็น 4 ประเด็น
    - อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity ratios)
    - อัตราส่วนการบริหารเงินเพื่อกิจกรรมดำเนินธุรกิจ (Activity ratios)
    - อัตราการวัดความสามารถในการก่อหนี้ (Leverage or Solvency ratios)
    - อัตราการวัดความสามารถทำกำไร (Profitability ratios)

เรียนรู้ผ่านกรณีศึกษา

"PEAK Account" สตาร์ทอัพสัญชาติไทย กับโปรแกรมบัญชีออนไลน์สำหรับ SMEs ตัวช่วยการทำธุรกิจโดยใช้ data

  • เหตุผลและความสำคัญเกี่ยวกับ ‘การบัญชี’ ว่าจำเป็นต่อผู้ประกอบการ และการวางแผนธุรกิจให้เติบโตอย่างมั่นคงได้อย่างไร
  • นอกจากเรื่องบัญชีแล้ว ยังมีเรื่องใดที่สำคัญและนักธุรกิจควรทำความเข้าใจก่อนตัดสินใจทำธุรกิจ 
  • ความยากในเรื่องของบัญชีสำหรับผู้ประกอบการ SMEs คืออะไร และปัญหาส่วนใหญ่ของ SMEs ไทยมีอะไรบ้าง
  • การรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโปรแกรมบัญชีออนไลน์ในประเทศไทยมากน้อยแค่ไหน และการบริหารด้านการบัญชีที่ดีมีโอกาสสร้างการเติบโตต่อธุรกิจ และอนาคตของประเทศโดยรวมได้อย่างไร
เนื้อหาคอร์ส
1. การบัญชีสําหรับธุรกิจใหม่ Accounting for New Venture
31:35
สอนโดย ผศ.ดร.กิตติชัย ราชมหา
อาจารย์ประจำ 
วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
2. Case Study : "PEAK Account" สตาร์ทอัพสัญชาติไทย กับโปรแกรมบัญชีออนไลน์สำหรับ SMEs ตัวช่วยการทำธุรกิจโดยใช้ data
17:03
สอนโดย คุณบุญชัย ฉัตรโชคเฉลิมพร
ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน บริษัท พี ยู ยู เอ็น อินเทลลิเจนท์ จำกัด
3. แบบประเมินหลังการเรียน
00:20
เนื้อหาทั้งหมด 3 วิดีโอ รวม 00 ชั่วโมง 48 นาที
การเรียนรู้ประกอบด้วย 2 วีดีโอ ตัวแรกคือ เรียนรู้ทฤษฎีจากอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ และสองคือ กรณีศึกษาจากเจ้าของธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ

ท่านต้องรับชมวีดีโอจนจบ ไม่สามารถเลื่อนได้ (ระบบจะเตือนว่าเวลาการเรียนรู้ไม่เพียงพอ) จากนั้นท่านจะต้องทำข้อสอบวัดความรู้หลังเรียน (ผ่าน 4 จาก 5 ข้อ)

เพื่อออกใบประกาศนียบัตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Certificate) ท่านต้องเช็คความถูกต้องของชื่อและทำแบบสอบถามความพึงพอใจก่อน จากนั้นท่านสามารถดาวน์โหลดได้ในหน้า User Profile

สามารถกดติดต่อเจ้าหน้าที่ได้ที่มุมขวาล่าง
ฟรี
ผู้สอน
ผศ.ดร.กิตติชัย ราชมหา

อาจารย์ประจำ 
วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

บุญชัย ฉัตรโชคเฉลิมพร

ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน บริษัท พี ยู ยู เอ็น อินเทลลิเจนท์ จำกัด

รีวิว
NIA MOOCs Tech Support