Sustainable Development, ESG and Business Model Development Programme

รูปแบบธุรกิจ

Business Model Frameworks

ธนาคารออมสินร่วมกับสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ นำเสนอหลักสูตร "การสร้างกรอบแนวคิดธุรกิจใหม่และการพัฒนาอย่างยั่งยืน Sustainable Development, ESG and Business Model Development Programme"

บทเรียนนี้จะอยู่ในหมวดที่ 2 "แนวคิดธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน"
เสนอเป็นวิชาที่ 3 ในหัวข้อ "รูปแบบธุรกิจ"

การพัฒนาแนวคิดธุรกิจโดยใช้กรอบของ Business Model Frameworks ช่วยให้เราสร้างแผนธุรกิจที่มั่นคงและมีประสิทธิภาพ โดยการเสริมความเข้าใจในหลักการของธุรกิจเริ่มต้น การรวมแนวคิดและองค์ประกอบสำคัญของธุรกิจ และการพัฒนา Business Model นั้นเป็นขั้นตอนสำคัญที่ช่วยให้เราเข้าใจธุรกิจของเราได้อย่างลึกซึ้ง และช่วยให้เราวางแผนการดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพได้

สิ่งที่จะได้เรียนรู้ในบทเรียน

  • เรียนรู้กรอบแนวคิดที่เป็นภาพรวมของกิจกรรมในการทำธุรกิจ
  • Business Prototyping คืออะไร
  • เรียนรู้กรอบของตัว Business Model Canvas ว่าประกอบไปด้วยเรื่องอะไรบ้าง
  • ความแตกต่างระหว่าง กรอบของตัว Business Model Canvas สำหรับธุรกิจทั่วไปเทียบกับ ธุรกิจที่เน้นในเรื่องของ  Sustainabilty

นอกจากเนื้อหาวิชาการแล้ว ในบทเรียนนี้ผู้เรียนจะได้เรียนรู้กรณีศึกษาจาก Startup โดยนักศึกษาจากโครงการ GSB Smart Startup company จำนวนสองทีมได้แก่

1. เคแอนด์พี อินโนเวชั่น (2022)

นวัตกรรมอาหารวัวที่มีโปรตีนสูง มีส่วนผสมของโพรไบโอติกส์และพรีไบโอติกส์ที่เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ลดการใช้ยาปฏิชีวนะ ลดอาการท้องอืด และมีราคาถูก พัฒนาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสัตวศาสตร์
นวัตกรรมอาหารวัวที่มีโปรตีนสูง มีส่วนผสมของโพรไบโอติกส์และพรีไบโอติกส์ที่เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ลดการใช้ยาปฏิชีวนะ ลดอาการท้องอืด และมีราคาถูก พัฒนาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสัตวศาสตร์

2. Nature House

พวงหรีดจากผักตบชวาปลอดสารเคมี ใช้วัสดุธรรมชาติ100% โดยฝีมือนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต สู่การถ่ายทอดความรู้เพื่อช่วยชาวบ้านหารายได้
พวงหรีดจากผักตบชวาปลอดสารเคมี ใช้วัสดุธรรมชาติ100% โดยฝีมือนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต สู่การถ่ายทอดความรู้เพื่อช่วยชาวบ้านหารายได้
เนื้อหาคอร์ส
1. รูปแบบธุรกิจ
30:42
สอนโดย ดร.ภูมิพร ธรรมสถิตย์เดช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาตรี นวัตกรรมและการแปรรูปทางดิจิทัล (dX) วิทยาลัยนวัตกรรม ม.ธรรมศาสตร์
2. แบบประเมินหลังการเรียน
00:10
เนื้อหาทั้งหมด 2 วิดีโอ รวม 00 ชั่วโมง 30 นาที
การเรียนรู้ประกอบด้วย 1 วีดีโอ ท่านต้องรับชมวีดีโอจนจบ ไม่สามารถเลื่อนได้ (ระบบจะเตือนว่าเวลาการเรียนรู้ไม่เพียงพอ)

จากนั้นท่านจะต้องทำข้อสอบวัดความรู้หลังเรียน (ผ่าน 4 จาก 5 ข้อ)

เพื่อออกใบประกาศนียบัตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Certificate) ท่านต้องเช็คความถูกต้องของชื่อและทำแบบสอบถามความพึงพอใจก่อน จากนั้นท่านสามารถดาวน์โหลดได้ในหน้า User Profile

สามารถกดติดต่อเจ้าหน้าที่ได้ที่มุมขวาล่าง
ฟรี
ผู้สอน
ผศ.ดร.ภูมิพร ธรรมสถิตย์เดช


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาตรี นวัตกรรมและการแปรรูปทางดิจิทัล (dX) วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ชวัลรัศมิ์ จตุเทน

เลขานุการ สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต

เกษนภา บัวทอง

ผู้ร่วมก่อตั้ง หจก. เคแอนด์พี อินโนเวชั่น (2022)

รีวิว
NIA MOOCs Tech Support