Sustainable Development, ESG and Business Model Development Programme

การออกแบบรูปแบบรายได้สำหรับธุรกิจ

Revenue Streams

ธนาคารออมสินร่วมกับสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ นำเสนอหลักสูตร "การสร้างกรอบแนวคิดธุรกิจใหม่และการพัฒนาอย่างยั่งยืน Sustainable Development, ESG and Business Model Development Programme"

บทเรียนนี้จะอยู่ในหมวดที่ 5 "การออกแบบแหล่งรายได้"
เสนอเป็นวิชาที่ 10 ในหัวข้อ "การออกแบบรูปแบบรายได้สำหรับธุรกิจ"

การดูและปรับ Revenue Streams เป็นสิ่งสำคัญ เช่น การที่ธุรกิจเจริญเติบโตจะต้องมี Revenue Streams ที่เหมาะสมกับรูปแบบธุรกิจและลูกค้าใหม่ ๆ ที่เพิ่มขึ้น การวางแผน Business Model Canvas ควรจะเริ่มต้นด้วยการมองไปในอนาคตอย่างน้อย 2-3 ปี เพื่อให้เห็นภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงในธุรกิจและ Revenue Streams และสุดท้ายคือการปรับ Revenue Streams Strategy โดยการศึกษารูปแบบการสร้างรายได้ของบริษัทอื่น ๆ ในปัจจุบัน จะช่วยให้เรามีแนวทางในการเปลี่ยนแปลง Revenue Streams ในอนาคตได้ดีขึ้น

ในหัวข้อ Revenue Streams นั้น เราจะต้องให้ความสำคัญกับการปรับ Business Model ตาม Business Life Cycle เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทและความเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ เราสามารถปรับเปลี่ยนตัว Revenue Streams เพื่อให้ตรงกับเป้าหมายของเราได้ โดยการทำความเข้าใจลูกค้าและการพัฒนา Operating Model จะช่วยให้เราสามารถปรับ Business Model ให้เหมาะสม นอกจากนี้ เรายังสามารถนำแนวคิดหรือโอกาสใหม่ ๆ เข้ามาพัฒนา Revenue Streams ใหม่ เพื่อความยั่งยืนของธุรกิจได้ด้วย การที่เรามองหาแนวคิดใหม่ๆ อย่างเช่น การใช้งานเพื่อความสะดวกสบาย ก็สามารถที่จะเปลี่ยนแปลง Revenue Streams ให้เข้ากับความต้องการของลูกค้าได้อย่างเหมาะสมเช่นกัน

สิ่งที่จะได้เรียนรู้ในบทเรียน

  • เรียนรู้การออกแบบการเลือกลักษณะรายได้ที่องค์กรสามารถต่อยอดได้
  • การวางแผนสำหรับการปรับเปลี่ยน Business Model
  • เรียนรู้จากรูปแบบของตัว Revenue Streams, Business Model ใหม่ ๆ จากกรณีศึกษา

นอกจากเนื้อหาวิชาการแล้ว ในบทเรียนนี้ผู้เรียนจะได้เรียนรู้จากวิทยากรพิเศษจากทั้งภาคธุรกิจ ไปจนถึง Startup โดยนักศึกษาจากโครงการ GSB Smart Startup Company ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมาประกอบไปด้วย

1. Vekin (Thailand) ผู้พัฒนา CERO Carbon Wallet Application

CERO Carbon Wallet แอปพลิเคชันที่เปลี่ยนความรักษ์โลกเป็นสินทรัพย์ดิจิทัล ทำให้คนธรรมดาๆ ก็มีคาร์บอนเครดิตได้
CERO Carbon Wallet แอปพลิเคชันที่เปลี่ยนความรักษ์โลกเป็นสินทรัพย์ดิจิทัล ทำให้คนธรรมดาๆ ก็มีคาร์บอนเครดิตได้

2. Muvmi

มูฟมี (MuvMi) รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า 100% สัญชาติไทยที่อยากพิชิตปัญหารถติดด้วยเทคโนโลยีและ ride sharing ราคาเป็นธรรม คนขับมีมาตรฐาน ลบภาพจำเดิมๆในอดีต
มูฟมี (MuvMi) รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า 100% สัญชาติไทยที่อยากพิชิตปัญหารถติดด้วยเทคโนโลยีและ ride sharing ราคาเป็นธรรม คนขับมีมาตรฐาน ลบภาพจำเดิมๆในอดีต

3. Qualy Design

Qualy แบรนด์ดีไซน์สัญชาติไทยที่เชื่อในพลังของการออกแบบเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไปพร้อมๆกับการปกป้องโลก
Qualy แบรนด์ดีไซน์สัญชาติไทยที่เชื่อในพลังของการออกแบบเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไปพร้อมๆกับการปกป้องโลก

4. บริษัท เทคมอร์โรว์ จำกัด

Techmorrow สตาร์ทอัพด้านสมาร์ทฟาร์ม AI Chatbot และอุปกรณ์สำหรับเกษตรกรยุคใหม่ให้สามารถดูแลฟาร์มได้อย่างแม่นยำ
Techmorrow สตาร์ทอัพด้านสมาร์ทฟาร์ม AI Chatbot และอุปกรณ์สำหรับเกษตรกรยุคใหม่ให้สามารถดูแลฟาร์มได้อย่างแม่นยำ
เนื้อหาคอร์ส
1. การออกแบบรูปแบบรายได้สำหรับธุรกิจ
30:17
สอนโดย ดร.ภูมิพร ธรรมสถิตย์เดช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาตรี นวัตกรรมและการแปรรูปทางดิจิทัล (dX) วิทยาลัยนวัตกรรม ม.ธรรมศาสตร์
2. แบบประเมินหลังการเรียน
00:10
เนื้อหาทั้งหมด 2 วิดีโอ รวม 00 ชั่วโมง 30 นาที
การเรียนรู้ประกอบด้วย 1 วีดีโอ ท่านต้องรับชมวีดีโอจนจบ ไม่สามารถเลื่อนได้ (ระบบจะเตือนว่าเวลาการเรียนรู้ไม่เพียงพอ)

จากนั้นท่านจะต้องทำข้อสอบวัดความรู้หลังเรียน (ผ่าน 4 จาก 5 ข้อ)

เพื่อออกใบประกาศนียบัตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Certificate) ท่านต้องเช็คความถูกต้องของชื่อและทำแบบสอบถามความพึงพอใจก่อน จากนั้นท่านสามารถดาวน์โหลดได้ในหน้า User Profile

สามารถกดติดต่อเจ้าหน้าที่ได้ที่มุมขวาล่าง
ฟรี
ผู้สอน
ผศ.ดร.ภูมิพร ธรรมสถิตย์เดช


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาตรี นวัตกรรมและการแปรรูปทางดิจิทัล (dX) วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ศกยง พัฒนเวคิน

ซีอีโอ บริษัท เวคิน (ประเทศไทย) บริษัทผู้พัฒนา แอปพลิเคชั่น CERO Carbon Wallet

ดร.กฤษดา กฤตยากีรณ

ผู้ก่อตั้ง MuvMi

ธีรชัย ศุภเมธีกูลวัฒน์

ผู้ก่อตั้ง Qualy Design

มนตรี อุดมฉวี

ผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท เทคมอร์โรว์ จำกัด

รีวิว
NIA MOOCs Tech Support